และยังมีรายงานผลการศึกษาทางคลินิกที่มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เมืองเซียงไฮ้
พบว่า
ในผู้ป่วยที่มีภาวะอุดตันของเส้นเลือด ตามส่วนต่าง ๆ ทั้งในสมอง หัวใจ
และ แขน ขา ได้ผลสรุปออกมาว่า
1. |
ผู้ป่วยที่มีอาการปวดศีรษะดีขึ้น |
75.0 % |
|
|
|
|
|
2. |
ผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับดีขึ้น
|
64.7 % |
|
|
|
|
|
3. |
ผู้ป่วยที่มีอาการวิงเวียนดีขึ้น
|
58.8 % |
|
|
|
|
|
4.
|
ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอกดีขึ้น |
53.8 % |
|
|
|
|
|
5. |
ผู้ป่วยที่มีอาการมือเท้าเย็นดีขึ้น |
52.9 % |
|
จากรายงานการวิจัยนี้ สรุปไว้ว่า เห็ดหลินจือมีฤทธิ์ลดความหนืดของเลือด
ลดความเข้มข้นของเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนดี ได้สะดวก
เพิ่มค่าความเร็วในการตกตะกอนของเลือด ลดระดับไขมันในเลือดทั้งคลอเรสเตอรอล
และไตรกลีเซอไรด์ ยับยั้งการรวมตัวของเกร็ดเลือด
ช่วยให้เม็ดเลือดแดงเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อให้ไหลผ่านไปตามเลือดไปตามอวัยวะต่าง
ๆได้ง่ายขึ้น
ปี ค.ศ. 1980 นักวิจัยชาวญี่ปุ่นยืนยันผลการทดลองเช่นเดียวกับจีน
โดยพบว่า สารสำคัญที่ช่วยลดความดันโลหิต และลดไขมันในเลือดคือ
กรดกาโนเดอริค ที่มีอยู่ในเห็ดหลินจือทำหน้าที่ยับยั้งการรวมตัวของเกร็ดเลือด
นอกจากนี้ยังพบอีกว่า เห็ดหลินจือมี
สารอัลคาลอยด์ ซึ่งสารชนิดนี้จะทำหน้าที่ลดแรงเสียดทานในผนังของเส้นเลือดของหัวใจ
จากผลการศึกษาทางคลินิกที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงโตเกียว
ประเทศญี่ปุ่นมีการใช้เห็ดหลินจือที่เป็นยาสกัด
รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง 53 ราย เป็นเวลานาน 6 เดือน
พบว่าความดันโลหิตลดลงได้ 10
29 มิลลิเมตรปรอท
=
57.5 %
34 |